ยินดีต้อนรับ กรุณา สมัครสมาชิก หรือเข้าสู่ระบบ

Home » หุ้น BEM
เข้าชม : 296

BEM งบ Q3/61 มีกำไรจากการโอนเปลี่ยน ประเภทเงินลงทุน จำนวน 1,089 ลบ.

โพสต์เมื่อ: วันเสาร์ 10 พฤศจิกายน 2561  14:47 น.
บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BEM 
ค าอธิบายและวิเคราะหข์ องฝ่ายจดัการไตรมาสที่ 3 ปี 2561

สรุปเหตุการณ์ส าคัญ
1. เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) (บริษัท) ได้รีไฟแนนซ์ เงินกู้ยืมระยะยาวของโครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร (SOE) วงเงิน 10,000 ล้านบาท ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยการออกหุ้นกู้อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 2.05 ถึงร้อยละ 3.01 ต่อปี เพื่อปรับลดต้นทุนการเงินและบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ท าให้สามารถประหยัดดอกเบี้ย ได้ประมาณ 510 - 940 ล้านบาท ตลอดอายุสัญญา

2. เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 บริษัทได้ขายหุ้นบริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จ ากัด (XPCL) ที่ถืออยู่ ทั้งหมดร้อยละ 7.5 ให้แก่บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) CKP โดยมีกำไรจากการขายสุทธิจากภาษี จำนวน 184 ล้านบาท

3. เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2561 บริษัทได้ขายหุ้นบริษัท ซีเค พาวเวอร์ จ ากัด (มหาชน) (CKP) จ านวน 111.2 ล้านหุ้น ให้แก่บริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ท าให้สัดส่วนการถือหุ้นใน CKP ลดลงจากร้อยละ 19.34 เป็นร้อยละ 17.83 ซึ่งบริษัทได้โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนใน CKP ใหม่ จากเดิมที่จัดประเภท เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมไปเป็นเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายเพื่อให้สอดคล้องกับสัดส่วน เงินลงทุนและวัตถุประสงค์ในการลงทุนของบริษัท โดยมีก าไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนสุทธิ จากภาษีจ านวน 2,030 ล้านบาท 4. เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561 ศาลปกครองสูงสุดได้มีค าพิพากษาคดีทางแข่งขันของทางพิเศษอุดรรัถยา ซึ่งบริษัท ทางด่วนกรุงเทพเหนือ (จ ากัด) (NECL) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้ยื่นเรียกร้อง ค่าเสียหายจากการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) โดยศาลปกครองสูงสุดได้มีค าพิพากษายืนตาม ค าพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นให้บังคับตามค าชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ที่ได้ชี้ขาดให้กทพ. ช าระเงินค่าชดเชยรายได้ที่ลดลงจากประมาณการให้แก่ NECL ตามสัญญาโครงการทางด่วนบางปะอิน - ปากเกร็ด เป็นเงินจ านวน 1,790 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราที่ก าหนดตามสัญญาจนกว่าจะช าระ เสร็จสิ้น ปัจจุบันคดีนี้อยู่ระหว่างรอ กทพ. ปฏิบัติตามค าพิพากษา เนื่องจากยังมีความไม่แน่นอน เกี่ยวกับรูปแบบการชดเชยที่บริษัทย่อยจะได้รับจากกทพ. บริษัทย่อยจึงยังมิได้บันทึกรายการ ดังกล่าวไว้ในงบการเงินไตรมาสที่ 3 ปี 2561 

สรปุ ผลการดำเนินงานของบริษัท 
ในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 บริษัทมีกำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท ก่อนกำไรจากการโอนเปลี่ยน ประเภทเงินลงทุน จำนวน 1,089 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จำนวน 149 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.9 หากนับรวมกำไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนสุทธิจากภาษีจำนวน 2,030 ล้านบาท กำไรสุทธิไตรมาสนี้เท่ากับ 3,119 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 2,179 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 231.8

โดยมีรายได้จากธุรกิจทางพิเศษ จ านวน 2,561 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11ล้านบาท หรือร้อยละ 0.4และรายได้จาก ธุรกิจระบบราง จ านวน 1,218 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 48 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.1 ในส่วนของดอกเบี้ยรับ จำนวน 108 ล้านบาท เป็นการบันทึกดอกเบี้ยรับของลูกหนี้ค่ำงำนระบบรถไฟฟ้ำตำมสัญญาสัมปทาน โครงกำรรถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม (สำยสีม่วง) ที่ได้รับจำก รฟม. ซึ่งเริ่มบันทึกตั้งแต่ไตรมำสที่ 4 ของ ปี 2560 เป็นต้นมำ โดยดอกเบี้ยรับดังกล่ำวเป็นจ ำนวนเท่ำกับดอกเบี้ยจ่ำยของเงินกู้ยืมระยะยำวจำก ธนำคำรเพื่อกำรลงทุนโครงกำรรถไฟฟ้ำสำยสีม่วง ซึ่งเป็นหนี้ที่ รฟม.เป็นผู้รับผิดชอบทยอยช าระคืนเงิน ต้นและดอกเบี้ยตามข้อก าหนดของสัญญาสัมปทาน และในไตรมาสนี้บริษัทมีก าไรจากการขายเงินลงทุนใน CKP สุทธิจากภาษี จ านวน 171 ล้านบาท 

ในด้านต้นทุนการให้บริการ จ านวน 2,393 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จ านวน 89 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.9 สาระส าคัญจากการเพิ่มขึ้นของค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาตามรอบ ระยะเวลา รวมถึงการเพิ่มขึ้นของค่าตัดจ าหน่ายสิทธิในการใช้ประโยชน์บนงานก่อสร้างทางด่วนและ ค่าตัดจ าหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัญญาสัมปทานโครงการรถไฟฟ้าสายสีน ้าเงินที่เพิ่มขึ้นตาม ปริมาณรถและปริมาณผู้โดยสาร ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด 

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร จ านวน 276 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 25 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายด าเนินการเตรียมความพร้อมในการเปิดให้บริการโครงการใหม่ ซึ่ง ไม่สามารถบันทึกเป็นต้นทุนตามมาตรฐานบัญชีได้

ในส่วนของค่าใช้จ่ายทางการเงิน จ านวน 420 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 55 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.1 สาระส าคัญจากการบันทึกดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมระยะยำวเพื่อกำรลงทุน โครงกำรรถไฟฟ้ำสำยสีม่วง จ ำนวน 108 ล้ำนบำท ซึ่ง รฟม. เป็นผู้รับผิดชอบตำมข้อก ำหนดของสัญญำ สัมปทำน โดยดอกเบี้ยจ่ำยที่บันทึกนี้เป็นจ ำนวนเท่ำกับกำรบันทึกดอกเบี้ยรับข้ำงต้น หำกไม่นับรวม รำยกำรนี้ ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินลดลง จ ำนวน 53 ล้ำนบำท จำกกำรช ำระคืนเงินต้นและกำรรีไฟแนนซ์ เงินกู้ยืมระยะยำวโครงการทางพิเศษสาย SOE เมื่อสิ้นไตรมำสที่ 1 ของปีนี้ส่งผลให้บริษัทมีต้นทุน ทำงกำรเงินที่ต ่ำลง

ส าหรับงวดเก้าเดือนปี 2561 บริษัทมีก าไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท ก่อนก าไรจากการโอน เปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จ านวน 2,804 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อน จ านวน 439 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.6 เนื่องจากในปีนี้มีก าไรจากการขายเงินลงทุน รวมถึงการรีไฟแนนซ์เงินกู้ยืมระยะยาว โครงการทางพิเศษสาย SOE และหากนับรวมก าไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนสุทธิจากภาษี จ านวน 2,030 ล้านบาท ก าไรสุทธิเท่ากับ 4,834 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อน 2,469 ล้านบาท หรือร้อยละ 104.4

ผลการดา เนินงานตามส่วนงาน
1. ธรุ กิจทางพิเศษ บริษัทมีรายได้จากธุรกิจทางพิเศษ จ านวน 2,561 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จ านวน 11 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.4 รายได้ส่วนใหญ่ที่เพิ่มขึ้นเป็นรายได้จากทางพิเศษสาย SOE โดย ในไตรมาสนี้SOE มีปริมาณจราจรเฉลี่ยวันละ 56,277 เที่ยว เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส เดียวกันของปีก่อน ในส่วนทางด่วนขั้นที่ 1 และขั้นที่2 รายได้ค่าผ่านทางลดลงจากปีก่อนเล็กน้อย ส าหรับ ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด (C+) รายได้ค่าผ่านทางเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 เนื่องจากการขยายตัวของ ชุมชนในเขตปริมณฑล เป็นผลให้มีเที่ยวการเดินทางเพิ่มขึ้น ในไตรมาสที่ 3 ปีนี้ C+ มีปริมาณจราจรเฉลี่ยวันละ 91,242 เที่ยว เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.4 ต้นทุนในการให้บริการของธุรกิจทางพิเศษประกอบด้วย ต้นทุนค่าผ่านทาง ค่าตัดจ าหน่ายสิทธิในการใช้ ประโยชน์บนงานก่อสร้างที่เสร็จแล้วและค่าทดแทนการจัดหาพื้นที่ก่อสร้างทางด่วน ส าหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีจ านวน 1,419 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จ านวน 42 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.1 ซึ่งสาระส าคัญมาจากค่าตัดจ าหน่ายสิทธิในการใช้ประโยชน์บนงานก่อสร้างทางด่วนซึ่งเพิ่มขึ้นตาม ปริมาณรถที่ใช้ทางพิเศษ


2. ธรุ กิจระบบราง บริษัทมีรายได้จากธุรกิจระบบราง จ านวน 1,218 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จ านวน 48 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.1 สาระส าคัญจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ค่าโดยสารโครงการรถไฟฟ้าสายสีน ้าเงิน เป็นผลมาจากการเชื่อมต่อของโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วงและโครงการรถไฟฟ้าสายสีน ้าเงินเมื่อเดือน สิงหาคม 2560 ท าให้ผู้โดยสารมีความสะดวกและประหยัดเวลาในการเดินทาง ส่งผลให้ปริมาณผู้โดยสาร ของทั้งสองโครงการเพิ่มขึ้น โดยจ านวนผู้โดยสารของสายสีน ้าเงินในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 เฉลี่ยวันละ 319,088 เที่ยว เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 4.6 และจ านวนผู้โดยสารในวันท างานเฉลี่ย วันละ 370,311 เที่ยว เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 จากปีก่อน ต้นทุนในการให้บริการของธุรกิจระบบราง ประกอบด้วย ต้นทุนค่าโดยสาร ต้นทุนการให้บริการเดินรถไฟฟ้า และซ่อมบ ารุง และค่าตัดจ าหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัมปทานโครงการรถไฟฟ้าสายสีน ้าเงิน ส าหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีจ านวน 918 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จ านวน 43 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 สาระส าคัญจากค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและบ ารุงรักษา

3. ธรุ กิจพฒั นาเชิงพาณิชย์ บริษัทมีรายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 จ านวน 167 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาส เดียวกันของปีก่อน จ านวน 12 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.7 จากการลดลงของรายได้จากการโฆษณา ประชาสัมพันธ

ข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์ https://www.set.or.th/set/newsdetails.do?newsId=15417205796841&language=th&country=TH

s


คุณต้องสมัครสมาชิก ถึงจะโพสกระทู้ได้

สมัครสมาชิก เข้าสู่ระบบ